Getting My โปรตีนเชค To Work
Getting My โปรตีนเชค To Work
Blog Article
รับโปรโมชั่นสุดพิเศษ คลิกเข้าสู่ร้านค้าเลย
โปรตีนเชคจากพืชดีกว่าโปรตีนจากสัตว์เพราะไม่มีไขมัน และคอเลสเตอรอล อีกทั้งยังทำมาจากพืชต่างๆ ที่มีโปรตีนสูง เช่น ถั่วลันเตา ถั่วเหลือง ถั่วลูกไก่ อัลมอนด์ เมล็ดฟักทอง ข้าวกล้อง เห็ด กัญชง ผลไม้ โปรตีนเชคจากพืชจึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสำหรับคนที่ไม่กินเนื้อสัตว์ หรือเป็นวีแกน ทั้งยังดูดซึมได้ง่าย มีวิตามิน กรดอะมิโน และมีใยอาหารที่ช่วยในการขับถ่ายอีกด้วย แต่โดยปกติแล้ว โปรตีนจากพืชทั่วไปจะมีกรดอะมิโนไม่ครบ เพราะฉะนั้น ต้องเลือกโปรตีนจากพืชที่ผสมทั้งถั่วเหลือง hooray protein shake ถั่วลันเตา และข้าวสาลี เพื่อจะได้กรดอะมิโนที่จำเป็นครบนั่นเอง
ไม่มีน้ำตาล เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำตาลในเลือด
รับโปรโมชั่นสุดพิเศษ คลิกเข้าสู่ร้านค้าเลย
เช็กด่วน เทียบอายุกับ #วัคซีน ที่ควรฉีด คุณฉีดครบหรือยัง❓
อยากผลิตอาหารเสริมต้องรู้! ขั้นตอนในการขึ้นทะเบียน อย.
ค้นหางานแข่งวิ่ง ปั่นจักรยาน ไตรกีฬา ทั่วไทย
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
โปรตีนประเภทต่างๆจะส่งผลต่อร่างกายต่างกันไป เวย์โปรตีนสามารถถูกดูดซึมได้ง่ายกว่าเคซีนโปรตีน และช่วยให้เรารู้สึกหิวน้อยลงในระยะสั้น
โดยทั่วไปเราได้รับสารอาหารโปรตีนเพียงพอจากอาหารที่กินในแต่ละวันอยู่แล้ว แต่สำหรับคนออกกำลังกาย หรือคนที่ลดน้ำหนัก การเสริมโปรตีนเป็นสิ่งจำเป็น โปรตีนเชคจึงผลิตมาเพื่อคนที่ออกกำลังกายเป็นประจำ มีไลฟ์สไตล์ที่ชอบทำกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องใช้กำลัง อย่างนักกีฬา หรือคนออกกำลังกาย ที่ต้องการสร้างกล้ามเนื้อ และซ่อมแซมอาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อหลังการออกกำลังกาย
โปรตีน เป็นสารอาหารสำคัญในการลดน้ำหนัก การได้รับโปรตีนมากพอจะช่วยเพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงาน ลดความอยากอาหาร และช่วยให้เราลดไขมันในร่างกายได้โดยไม่สูญเสียมวลกล้ามเนื้อ
ผลิตภัณฑ์ทดแทนมื้ออาหารช่วยลดน้ำหนักได้จริงไหม?
โปรตีนเชคสามารถช่วยป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มกลับมาอีก หลังการลดน้ำหนัก
การควบคุมอาหารเพื่อลดน้ำหนักมักจะทำให้เราสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ ซึ่งสามารถทำให้อัตราการเผาผลาญพลังงานช้าลงได้ เมื่อเผาผลาญได้น้อยลงก็มีโอกาสที่จะมีน้ำหนักเพิ่มกลับมามากขึ้นเมื่อเลิกคุมอาหาร (หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า อาการโยโย่)